ข้อความต้นฉบับในหน้า
ถ้าอังสืขตราดูอังคธรรมล์อยู่ที่ไหน? อังคขตรูด
อังคขตรธรรมตั้งแต่ธรรมกายขึ้นไป ธรรมกายที่เป็นโคตรร้าง หยาบทั้งละเอียด ธรรมกายที่เป็นโลดทั้งหยาบทั้งละเอียด...
ส่วนที่เป็นธรรมกายแล้ว เป็นอังสืขตรูด อังสืขตรธรรม แต่งไม่ใช่ “วิราคาตูวิราคธรรม” ... ธาตุเหล่านี้บ่งชี้ปรุงแต่งไม่ได้ เป็นเหมือนแก้วใสสะอาดทีเดียว นี่เป็นอังสืขตรูด อังคขตรธรรมที่เดียว แต่ว่ายังไม่ใช่ “วิราคาตูวิราคธรรม” ถ้าเป็นวิราคาตูวิราคธรรมล่ะ ต้องกายพระอรหัตทั้งหยาบทั้งละเอียด เป็นวิราคาตูวิราคธรรม (ธ. 182)
พระธรรมเทสนานี้แสดงไว้ว่า ธรรมกายเป็นอังสืขตรูดา ไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง และ มีความใส สะอาด บริสุทธิ์ เหมือนแก้ว
ดังนั้น ลักษณะของธรรมกายในหาปริวรรตสูตรของมหายานจึงนับว่ารุดคล้องกับหลักการของวิชชาธรรมภายในกรณีที่ว่าว่า “ไม่แตกสลาย” นั้น หมายถึงความเป็นอังสืขตรูดา คือไม่ได้ถูกปรุงแต่ง ไม่มีเหตุปัจจัย แต่ได้หมายถึงความแข็งของเพชรที่มอิในโลกมนุษย์ ส่วนความมุ่นหมายดังเดิมของพระสูตรจะเป็นอย่างไรในสองกรณีนี้ การศึกษาเนื้อหาของคัมภีร์ฉบับเต็มที่แปลเป็นภาษาจีนจะช่วยให้ตัดสินได้ชัดเจนขึ้น
ในมหาปิรันธสูตรของมหายานฉบับแปลเป็นภาษาจีนโดยท่านธรรมเกษม พบคำว่า ธรรมกาย (法身) ทังหมด 41 แห่ง กล่าวถึงธรรมกาย