ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
ชาวพุทธสรรวามีทัศนะจะเข้าใจความหมายของธรรมภายในทิศทางเดียวกันกับเรวา เช่นคัมภีร์มหาวิภาและอภิธรรมโกศายกกล่าวถึงการ of สรรนะในพระพุทธเจ้าว่า หมายถึงการ of สรรนะใน "ธรรมที่เปลี่ยน พระบรมโพธิสัตว์ให้เป็นพระพุทธเจ้า" คือ ธรรมภายในไม่ใช่การ of สรรนะใน รูป กายของพระองค์เป็นสรรณะ (Vasubandhu, P ousin, and Pruden 1988: 722 n.129, 131) 34 และในเวลาเดียวกันก็ဘုးว่าธรรมภายในได้แก่ กุสยชฌาน (ขยาณ), อนุปปาทชฌาน (อนุปปาทาน), และสมุยคฤทธิ์ (สัมมาทิฏฐิ) รวมทั้งธรรมที่มาร่วมกับญาณเหล่านี้ได้แก่ ขันธ์อัฏฐบริสุทธิ์ 5 ประการ ในบางแห่ง คัมภีร์อธิธรรมนิโครกกล่าวว่าพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกพระองค์ทรงเหมือนกันโดยทรงเข้าสิ่งพระธรรมภายในเดียวกัน (Abh.K.VII.34) ซึ่งคัมภีร์ วุฑฒวยา ขยายความว่า ธรรมภายในที่หมายถึง “กระแสที่ต่อเนื่องของธรรมที่ปรากฏจากกิเลส” (อนาสวรรค์-สตาน) 35 หรือ “การผลิตเปลี่ยนเป็นชีวิตใหม่หรือวัตถุนใหม่ (อศรยบริวัตรติ) สำหรับพระพุทธเจ้าหรือพระอรหันต์” (Vasubandhu, Pousin, and Pruden 1988: 1200 n.196) ข้อสรุบ้างต้นมีความชัดเจนว่าธรรมภายในพระพุทธศาสนายุคดั่งเดิมตามที่ศึกษาจากพระไตรปิฎกสี่เล่มและอาคะนะจีนั้น มีความหมายสอดคล้องหรือตรงกันกับ “ธรรมภาย” ที่กล่าวไว้ในคำสอนวิชาชารมภาย ซึ่งชาวพุทธรเววามและสรรวามีทัศนะยังคงรักษาความเข้าใจเดิมไว้ได้อย่างน้อยก็ถึงราว