ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์ทุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
หลาวเส่ใหญ่ๆที่มาคว้าดุนและใจคอปเพื่อบันไหวดี ดูธรรมและกรรมฐาน ก็ดูแจ้งใส” (มูลล. 25.14)
ประสบการณ์ภายในจากการปฏิบัติสมาธิภาวนาบางอย่าง เช่น พรหมวิหาร กายคตาสติ อาหารเรปฏิกิริยา ฯลฯ ฯ และมธนานุสติ มีกล่าวต่อไปถึงอุปนามาสมาธิ ซึ่งบรรยายไว้ว่า “เย็นอ่อน ยอบ หายใจรู้ ชะแล” (มูลล. 33.1) ทำให้รู้ว่าในชั้นอุปนาสสมาธิผูปฏิบัติจะไม่รู้สึกถึงการหายใจ
จากอุปนาสสมาธิ ผูปฏิบัติออกอิฐฐานเข้าสูา 4 อธิญาณ 5 หรือ สมาธิ 8 ต่อไปได้ หรือจะเลือกภาวนา “ทิฏเกิงขาววิสุทธาสน” คือปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานต่อเลยก็ได้เช่นกันโดยคัมภีร์ได้แสดงวิธีเข้าสูา 4 จากการภาวนา “เกลา” ในภายคตาสติโดยละเอียดเพื่อเป็นตัวอย่าง แต่ไม่ได้แสดงวิธีปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานไว้
ผลของการปฏิบัติในเบื้องต้นของคัมภีร์โบราณ มีความคล้ายคลึงกันกับประสบการณ์เบื้องต้นในการเจริญสมาธิวากนาที่กล่าวไว้ในวิชาธรรมกาย เช่น ปีติชุมขึ้น การเห็นแสงสว่าง เป็นต้น ซึ่งอาจจดว่าเป็นประสบการณ์สกัล ซึ่งบันทึกไว้ตั้งแต่โบราณกาล ดังที่ปรากฏให้เห็นในพระไตรปิฎกและคัมภีร์ต่างๆ ในพระพุทธศาสนา
4.2.3.6. การเจริญสมาธิภาวนาในขั้นโลกุตระและผลของการปฏิบัติ
การปฏิบัติสมาธิวากนในระดับโลกุตระมีความไว้ในคัมภีร์ทุทธนรรก คัมภีร์พระญาณสถล และคัมภีร์บัวระพันธ คัมภีร์กลุ่มนี้นิยมใช้ศัพท์แทนอธิษฐานคำว่า “อธิธรร” โดยยึดความหมายของรากศัพท์บาลีเป็นเกณฑ์ และโดยเหตุที่กล่าว อธิธรร มาพ้องกันกับหนึ่งในพระไตรปิฎก คัมภีร์อักษร