ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณ ๑ ฉบับวิชาการ
ทางโบราณคดีที่รับรองถึงความอยู่จริงของพระมัญฺญมฤตญฺญเณร พระกัสสปโครต พระทุนทุภิสิษาระ และคณะผู้เผยแผ่ไปยังดินแดน “หิมวันต์” ดังกล่าวด้วย45
จารีตพระเจ้าอโศก ๒ หลักในอักษรโบราณสู่ ที่พบที่ Shahbazgarhi และ Mansehra ในคันธาระ ซึ่งปัจจุบันอยู่ในเขตประเทศปากีสถาน (Hassnain 1973: 13-4; Sehrai 1979) บ่งบอกถึงการเดินทางของพระพุทธศาสนาเข้าไปสู่คันธาระในยุคนัน
บันทึกความเป็นมาของมิลินทปัญหาว่า การถามตอบปัญหาระหว่างพระยามิลินท or Menander กับพระนากเสกเกิดขึ้นในคันธาระใกล้ๆ กัสมีระ (Trenchner 1962: 82-3) อภิเนอร์ ตั้งข้อสันนิษฐานว่า ต้นฉบับดั้งเดิมของมิลินทปัญหาอาจเป็นภาษาคานธารีซึ่งใช้ในท้องถิ่นตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย โดยพิจารณาจากเนื้อหาหลักธรรมในมิลินทปัญหาขับแปลภาษาจีนซึ่งเชื่อว่าตรงกับเนื้อหาดั้งเดิมมากกว่าบาลี และรูปแบบประกอบในฉบับภาษาบาลีสื่งแตกต่างจากวรรณกรรมบาลีทั่วไป (Hinüber 1996: 83)46
45 ในรายงานการสำรวจพระสบญั ที่ศาลา พบว่า ที่กล่องบรรจุพระธาตุพบในพระสบญั หมายเลข 2 มีข้อความจารึกไว้ด้านนอกและด้านในว่า “sapurisakasapgotasa savahemavatacariyasa” แปลว่า “พระธาตุ” ของพระกัสสปโครตผู้สร้างบูชุ ผู้เป็นอาจารย์ของชาวมวัสติทั้งสิ้น” และ “sapurisamahjima” แปลว่า “พระธาตุ” ของพระธัมภิสนธ์มีเป็นสัตบุตร ส่วนที่พบในพระสบญั หมายเลข 2 ที่เชนรา (Sonari) มีข้อความว่า “sapurisagotipusa savahemavalsa dadabhisaraDayadsa” แปลว่า “พระธาตุ” ของพระอโฆติรุตผู้สร้างบูชา ผู้เป็นนายทายาของพระ ทันทีภารกิจของชาวหินตันตั้งแต่ฉัน” (Cunningham 1854: 287, 316-7) จากการศึกษาปรับเปรียบเทียบทั้งสองฉบับ โดยพระภิษุวัตรการชาวเวียดนาม พบว่า ระยะทางและสถานที่กล่าวไว้ในฉบับภาษาอังกฤษ มีความถูกต้องตรงกันกับหน่วยวัดในแผนที่ภูมิศาสตร์ และอีกหลายเหตุผล ทำให้นำสุ rep่า ฉบับภาษาเชีนนี้เนือหา trangับฉบับดั้งเดิมมากกว่าบาลี (Minh Châu 1964). http://www.budsas.org/ebud/milinda/ml-00.htm
114 | ดร.ชนิตา จันทารศรีโสภ