ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - อภิธัมมัตถสังคหบาลี และอภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา - หน้าที่ 91
ว่า เป็นนิวรณ์ เพราะเป็นมิทธะ เหมือน
มิทธะนอกนี้ ฯ ก็เพราะท่านกล่าวถึง
สัมประโยค จึงตกลงว่า มิทธะนั้นมิใช่รูป
เพราะพระผู้มีพระภาคตรัสสัมประโยคแห่ง
อรูปขันธ์ ฯ อนึ่ง มิทธะเป็นรูป ย่อมไม่มี
เพราะตรัสถึงความเกิดในอรูป แต่ความ
หลับของพระขีณาสพทั้งหลายจะพึงมี ก็
เพราะความอ่อนเพลีย (อิดโรย) ของ
ร่างกาย ดังนี้ ฯ
[อธิบายโสภณเจตสิก]
ન્
ธรรมชาติที่ชื่อว่าสัทธา เพราะอรรถว่า เชื่อ ได้แก่ความเสื่อมใส
ในพระพุทธเจ้าเป็นต้นฯ ศรัทธานั้นมีอันทำสัมปยุตตธรรมให้ผ่องใสเป็น
ลักษณะ ประดุจแก้วมณีทำน้ำให้ในฉะนั้น ๆ ความระลึกได้ ชื่อว่าสติ
ได้แก่ความไม่ฟั่นเฟือนฯ สตินั้น มีอันยังสัมปยุตธรรมให้แล่นไปเป็น
ลักษณะ ฯ ธรรมชาติที่ชื่อว่าหิริ เพราะอรรถว่า เกรงๆ เอตตัปปะนั้นมี
ทุจริตมีกายทุจริตเป็นต้นฯ หิรินั้น เปรียบเหมือนหญิงสาวในสกุล
เพราะเกลียดแต่สิ่งชั่วด้วยอำนาจเคารพตนฯ หิริ เปรียบเหมือน
อันสะดุ้งกลัวบาปเป็นลักษณะ ฯ หิริ เปรียบเหมือนหญิงสาวในสกุล
เพราะเกลียดแต่สิ่งชั่วด้วยอำนาจเคาระตน ฯ โอตตัปปะ เปรียบเหมือน
หญิงแพศยา เพราะเกรงแต่สิ่งชั่วด้วยอำนาจเคาระผู้อื่น ๆ ธรรมที่เป็น
ปฏิปักษ์ต่อโลภะ ชื่อว่าอโลภะ ฯ อโลภะนั้น มีความที่จิตไม่ติดอยู่