ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - อภิธัมมัตถสังคหบาลี และอภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา - หน้าที่ 97
แม้ในทวันทวสมาหาระฯ เชื่อมความว่า ต่อจากนี้ไปข้าพเจ้าจะกล่าว
สัมประโยคแห่งเจตสิกที่ไม่แยกกันกับจิตเหล่านั้น ในจิตตุปบาททั้งหลาย
เฉพาะด้วงหนึ่ง ๆ ตามสมควรแก่การประกอบ ฯ
[อธิบายเจตสิกประกอบกับจิต]
กามาวจรจิต ๔๔ ชื่อว่าเว้นทวิปัญจวิญญาณ เพราะอรรถว่า
ทวิปัญจวิญญาณ ถูกกามาวจรจิต ๔๔ เหล่านี้เว้นเสีย เพราะไม่มีวิตก
โดยสภาพ หรือว่ากามาวจรจิต ๔๔ เหล่านี้ ถูกทวิปัญจวิญญาณเหล่านั้น
เว้นเสีย ฯ อธิบายว่า วิตกย่อมเกิดในกามาวจรจิต ๔๔ เหล่านั้น และ
ในปฐมฌานจิต ๑๑ เพราะฌานที่เหลือทุติยฌานเป็นต้น ไม่มีวิตกตาม
กำลังแห่งภาวนาฯ วิจารย่อมเกิดในจิต ๖๖ คือ ในจิตมีวิตก ๕๕
00
เหล่านั้น และในทุติยฌานจิต ๑๑ ฯ อธิโมกข์เกิดในจิต ๒๘ เว้นจิต
คือ ทวิปัญจวิญญาณ และวิจิกิจฉาสหคตจิต ฯ วิริยะเกิดในจิต ๒๓
เว้นจิต ๒๖ คือ ปัญจทวาราวัชชนจิต ทวิปัญจวิญญาณ สัมปฏิจฉันนะ
ทั้งคู่ และสันติรณะทั้ง ๓ ฯ ปีติเกิดในจิต ๕๑ เว้นจิต ๓๐ คือ จิต ๒ ที่
สหรคตด้วยโทมนัส จิต ๕๕ ที่สหรคตด้วยอุเบกขา กายวิญญาณทั้งคู่
และจตุตถฌานจิต ๑๑ ฯ ฉันทะ เกิดในจิต ๖๕ ยกเว้นจิต ๒๐ คือ
อเหตุกจิต ๑๘ และโมหจิต ๒
ဆ
คำว่า เต ปน ได้แก่ จิตตุปบาทที่เป็นปกิณณกเจตสิก และที
สหรคตด้วยปกิณณกเจตสิกเหล่านั้น ฯ บทว่า ยถากกม คือ โดยสมควร
แก่ลำดับแห่งจิตตุปบาท ทีเว้นและประกอบด้วยปกิณณกเจตสิกทั้ง 5
๖ มี