อภิธัมมัตถสังคหบาลี และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา อภิธัมมัตถสังคหบาลี และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา หน้า 288
หน้าที่ 288 / 442

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการทำความเข้าใจเกี่ยวกับการรับรู้ของจักขุและโสตะ อธิบายถึงความสำคัญของอารมณ์ที่แต่อาการรับรู้ รวมถึงการเชื่อมโยงกับรูปและเสียงที่เกิดจากกรรม จิต และโอชะ อภิธัมมัตถสังคหบาลี ได้เน้นย้ำว่ารูปและเสียงที่เกิดจากภายนอกนั้นไม่สามารถเป็นโคจรแห่งจักขุและโสตะได้ โดยอ้างอิงถึงหลักในบาลีและการกำหนดทิศและประเทศแห่งเสียง ทั้งนี้ยังนำเสนอกระบวนการที่จักขุสามารถเห็นได้เฉพาะอารมณ์ที่ใกล้เคียงเท่านั้น

หัวข้อประเด็น

-การรับรู้ของจักขุ
-การรับรู้ของโสตะ
-อารมณ์และการเชื่อมโยงกับรูปและเสียง
-อภิธรรมและบาลี
-การกำหนดทิศและเสียง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อภิธัมมัตถสังคหบาลี และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา - หน้าที่ 288 และโสตะนั้น ไปถึงประเทศแห่งอารมณ์ แล้ว ซ่านไปรับอารมณ์นั้นได้ไซร้ รูป และเสียงนั้นจึงเป็นโคจรแห่งจักขุโสตะ นั้น แม้ในเพราะอันแล่นไปสู่ที่ที่ตั้งอาศัย ถ้ารูปและเสียงนั้นไปถึงความตั้งอยู่กับด้วย อินทรีย์ เพราะเนื่องด้วยภูตรูปได้ไซร้ รูปที่เกิดแต่กรรม จิต และโอชะ และ เสียงที่เกิดแต่จิต ย่อมไม่เป็นโคจรแห่ง จักขุและโสตะเหล่านั้น เพราะว่า รูป และเสียงเหล่านั้นไม่เกิดในภายนอก อนึ่ง ตรัสไว้ในบาลีโดยไม่แปลกกันว่า เป็น รูปและเสียงเหล่านั้น พระผู้มีพระภาค ถ้าจักขุและโสตะทั้ง ๒ นี้ ย่อมรับเอาแต่ อารมณ์แห่งจักขุและโสตะเหล่านั้นแล ฯ อารมณ์ที่ใกล้ตนเท่านั้นไซร้ จักขุก็จะพึง เห็นดวงตาและโคนแห่งขนตาได้ เช่น เดียวกัน อนึ่ง การกำหนดทิศและ ประเทศแห่งเสียง ก็จะพึงมีไม่ได้ และ การยิงลูกศรให้ตกไป ในหูของตน แห่ง นายขมังธนูผู้ยิงตามเสียง ก็จะพึงมี ฯ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More