อภิธัมมัตถสังคหบาลี และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา อภิธัมมัตถสังคหบาลี และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา หน้า 259
หน้าที่ 259 / 442

สรุปเนื้อหา

ในประโยคนี้กล่าวถึงอภิธัมมัตถสังคหบาลี พร้อมกับการจำแนกธรรมต่าง ๆ โดยมีการรวบรวมและอธิบายตามลำดับของคำ ข้าพเจ้าได้จำแนกธรรมฝ่ายจิตและเจตสิก โดยอิงตามประเภทและปวัติ เพื่อเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปสมุทเทส และการรวมเข้าของรูปสองแบบที่กล่าวถึงในหนังสือ ข้อมูลที่ให้ก็มีทั้งหมด ๑๑ อย่างที่เกี่ยวข้องกับการรวมธรรมในลักษณะต่าง ๆ ผ่านการวิเคราะห์ที่ลึกซึ้งและชัดเจน โดยเนื้อหาเน้นความเข้าใจเกี่ยวกับมหาภูตรูปสี่และการอาศัยมหาภูตรูปสี่ ซึ่งว่าด้วยธรรมชาติของการเกิดและการจัดรวมรูปในลำดับที่เหมาะสม

หัวข้อประเด็น

-อภิธัมมัตถสังคหบาลี
-การรวมธรรม
-มหาภูตรูป
-จิตและเจตสิก
-การจำแนกและวิเคราะห์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อภิธัมมัตถสังคหบาลี และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา - หน้าที่ 259 อภิธัมมัตถสังคหบาลีแปล ปริเฉทที่ ๖ [ชื่อรูปสังคหวิภาค] [สังคหคาถา] เพราะว่า ธรรมทั้งหลายฝ่ายจิตและเจตสิก พร้อมทั้งประเภทและปวัติ ข้าพเจ้าได้ จำแนกไว้แล้ว ด้วยลำดับแห่งคำเพียงเท่านี้ บัดนี้ ข้าพเจ้าจะกล่าวถึงรูป (ที่ถึงเข้า ตามลำดับ) ในรูปนั้น มีสังคหะ (การ รวบรวม) โดยอาการ ๕ นัย คือ โดย สมุทเทส (แสดงโดยย่อ) ๑ โดยวิภาค (การจำแนก) ๑ โดยสมุฏฐาน (เหตุเกิด) 0 โดยกลาป (หมวดหมู่) ๑ โดยลำดับ ปวัติ (การเกิด) ๑ [รูปสมุทเทส] ด ก็รูป ๒ อย่างนี้ คือ มหาภูตรูปสี่ ๑ รูปอาศัยมหาภูตรูปสี่ ๑ ย่อมถึงการรวมเข้าได้ ๑๑ อย่าง ๆ คืออย่างไร ? ก็รูป ๑๘ อย่างนี้ คือ * พระมหาแพร กมฺมสาโร ป. ธ. ๕ วัดเขมาภิรตาราม นนทบุรี แปล
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More