อภิธัมมัตถสังคหบาลี และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา - ปัจจัยนัย อภิธัมมัตถสังคหบาลี และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา หน้า 349
หน้าที่ 349 / 442

สรุปเนื้อหา

ในงานนี้จะนำเสนอประเด็นเกี่ยวกับปัจจัยต่าง ๆ รวมถึงพิจารณามิติของปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตและการศึกษาในปรัชญาพุทธศาสนา พร้อมเชื่อมโยงแนวคิดกับหลักฐานทางอักษรศาสตร์ หากต้องการศึกษาหรือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพิ่มเติม สามารถติดตามได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-อภิธัมมัตถสังคหะ
-ประเภทของปัจจัย
-ลักษณะของนามและรูป
-การศึกษาในพุทธปรัชญา
-ความสัมพันธ์ระหว่างจิตและเจตสิก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อภิธัมมัตถสังคหบาลี และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา - หน้าที่ 349 นัยอย่างนี้ว่า เหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย อธิปติปัจจัย อนันตร ปัจจัย สมนันตรปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาเสวนปัจจัย กัมม ปัจจัย วิปากปัจจัย อาหารปัจจัย อินทริยปัจจัย ฌานปัจจัย มัคคปัจจัย สัมปยุตตปัจจัย วิปปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัย อวิคตปัจจัย ดังนี้ ชื่อว่าปัฏฐานนัย ในอธิการแห่งปัจจัยสังคหะนี้ ฯ ในปัฏฐานนัยนั้น ฯ คืออย่างนี้ [สังคหถาถา] ปัจจัยทั้งหลาย มี 5 อย่าง คือ ส่วนนาม เป็นปัจจัยแก่นาม โดยอาการ ๖ อย่าง ๑ เป็นปัจจัยแก่นามและรูป ๕ อย่าง ๑ กลับ เป็นปัจจัยแก่รูปอีกอย่างเดียว ๑ และรูป เป็นปัจจัยแก่นามอย่างเดียว ๑ ฯ บัญญัติ |๑ นามและรูปเป็นปัจจัยแก่นาม ๒ อย่าง ๑ นามรูปทั้ง ๒ เป็นปัจจัยแก่นามรูปทั้ง ๕ อย่าง ๑, คืออย่างไร ๆ ๒ นามเป็นปัจจัยเฉพาะแก่นามเท่านั้น 5 อย่าง คือธรรมทั้งหลาย คือจิตและเจตสิกที่ดับไปไม่มีระหว่าง เป็นปัจจัยแก่ธรรมคือจิตและเจต สิก ซึ่งเป็นปัจจุบัน ด้วยสามารถแห่งอนันตรปัจจัย สมนันตรปัจจัย นัตถิปัจจัย และวิคตปัจจัย, ชวนะก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ชวนะหลัง ๆ ด้วยสามารถแห่งอาเสวนปัจจัย, ธรรมทั้งหลายค้อจิตและเจตสิก ซึ่งเกิด
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More